*เมื่อพิจารณาย้อนหลังไป 30 เดือน ด้วยวิธีการหาความสัมพันธ์เชิงเปรียบเทียบ ก็จะพบว่าตลาดไทยยังคงมี Upside อีก 45% หรือระดับดัชนี 1230 จุด จะกลายเป็นเป้าหมายหลัก ซึ่งก็มีความเป็นไปได้สูง เนื่องจาก SET ยังมี PE ต่ำเพียง 12.3 เท่า เทียบกับทวีปเอเชียที่ 18 เท่า และ SEA ที่ 16 เท่า เราจึงเรียกได้ว่ามีการ Discount อยู่ 23-32%
*ประเด็นที่น่าติดตามว่าเป้าหมายดังกล่าวจะถึงหรือไม่ อยู่ที่ 1) อัตราดอกเบี้ยสหรัฐ หากมีการปรับขึ้น จะส่งผลให้เม็ดเงินชะลอลงแล้วนั่นจะทำให้เกิดการปรับพอร์ตรอบใหญ่ 2) การที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรไทยปรับตัวขึ้นมาสูงมากจะก่อให้เกิด Earnings Gap ที่แคบลง กระตุ้นการขายทำกำไร 3) ค่าเงินบาทแข็งค่าเร็วและแรงเกินไป ซึ่งเราคาดว่าบริเวณ 33 บาท แรงซื้อน่าจะชะลอลง เนื่องจากกำไรจากค่าเงินจะเพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาหุ้นไทยก็จะแพงขึ้นตาม
*ตลาดหุ้นไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา มีการปรับตัวขึ้นมา 38.7% แรงกว่า MSCI-Asia Ex Japan ที่ปรับขึ้นมา 23.4% และเมื่อเทียบกับในกลุ่ม SEA 5 ประเทศ แล้วจะพบว่าไทยยังมี Performance ที่แย่กว่าเล็กน้อยประมาณ 2% เพราะฉะนั้นหากดัชนีจะปรับตัวลงก็จะเกิดขึ้นจากปัจจัยต่างประเทศเป็นสำคัญ กล่าวคือ ดอกเบี้ยขึ้น หรือมีการขายทำกำไรทั้งภูมิภาค
*คำแนะนำเราคือ หากดัชนีไม่ต่ำกว่า 841 จุด แนะนำซื้อหรือถือต่อไป
*ประเด็นที่น่าติดตามว่าเป้าหมายดังกล่าวจะถึงหรือไม่ อยู่ที่ 1) อัตราดอกเบี้ยสหรัฐ หากมีการปรับขึ้น จะส่งผลให้เม็ดเงินชะลอลงแล้วนั่นจะทำให้เกิดการปรับพอร์ตรอบใหญ่ 2) การที่อัตราผลตอบแทนพันธบัตรไทยปรับตัวขึ้นมาสูงมากจะก่อให้เกิด Earnings Gap ที่แคบลง กระตุ้นการขายทำกำไร 3) ค่าเงินบาทแข็งค่าเร็วและแรงเกินไป ซึ่งเราคาดว่าบริเวณ 33 บาท แรงซื้อน่าจะชะลอลง เนื่องจากกำไรจากค่าเงินจะเพิ่มขึ้น ขณะที่ราคาหุ้นไทยก็จะแพงขึ้นตาม
*ตลาดหุ้นไทยในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา มีการปรับตัวขึ้นมา 38.7% แรงกว่า MSCI-Asia Ex Japan ที่ปรับขึ้นมา 23.4% และเมื่อเทียบกับในกลุ่ม SEA 5 ประเทศ แล้วจะพบว่าไทยยังมี Performance ที่แย่กว่าเล็กน้อยประมาณ 2% เพราะฉะนั้นหากดัชนีจะปรับตัวลงก็จะเกิดขึ้นจากปัจจัยต่างประเทศเป็นสำคัญ กล่าวคือ ดอกเบี้ยขึ้น หรือมีการขายทำกำไรทั้งภูมิภาค
*คำแนะนำเราคือ หากดัชนีไม่ต่ำกว่า 841 จุด แนะนำซื้อหรือถือต่อไป